SONTAYA'P BLOGGER

IT Digital lifestyle

ระหว่าง ADSL IP VPN กับ ADSL MPLS IP VPN

bySONTAYA July 18, 2013 Personal

บริการประเภท MPLS กับ VPN

เนื่องจากผู้ให้บริการ (ISP) ล้วนตระหนักถึงภัยคุมคามที่เกิดขึ้นกับ Internet Protocol (IP) โปรโตคอล เช่น การรับ-ส่งอีเมล, หรือการเข้าเว็บ ซึ่งข้อมูลจะเรียกว่าแพ็ตเก็ต ในแพ็กเก็ตจะประกอบด้วยแอดเดรสผู้ส่ง และแอดเดรสของผู้รับ โดยจะถูกส่งตามเส้นทางที่แตกต่างกันผ่านอินเทอร์เน็ต ทุกแพ็กเก็ตเริ่มต้นจะถูกส่งไปยังเครื่อง Gateway จากนั้น Gateway จะเป็นตัวกำหนดบอกเส้นทางให้แพ็ตเก็ตส่งถึงผู้รับทางเส้นทางไหน


ข้อดี-ข้อเสีย ADSL IP VPN

ข้อดี
– ปัจจุบันมีความเร็วสูง ราคาถูก แต่ถ้าสัญญาณสื่อสารขาดเป็นอันจบ เช่น DSLAM เสียหาย
– รองรับการทำ VPN tunnel ระหว่างสำนักงานได้ (VPN site-to-site)
– รองรับการทำระบบลิงก์สำรองได้ง่าย เนื่องจากค่าบริการ ADSL ราคาถูก ผู้ใช้สามารถซื้อบริการกับผู้ใช้บริการรายอื่นๆ สำหรับใช้เป็นลิงก์อินเทอร์เน็ตสำรองได้ (backup line)
– อิมพลีเม้นท์ได้ง่าย เพียงแค่มีฮาร์ดแวร์ฟีเจอร์เทพๆ ก็สามารถอิมพลีเม้นท์โซลูชั่นต่างๆ ได้ เช่น load balance หรือ VPN L2TP over IPsec tunnel เป็นต้น
– low-cost VPN solution ไอทีในองค์กรสามารถอิมพลีเม้นท์ระบบเองได้

ข้อเสีย
– ข้อจำกัดของคุณภาพการให้บริการ (QoS) เช่น เรื่องของการ support ค่อนข้างช้า ไม่ได้มีโมเดลฟังก์ชั่น QoS หรือการจัดการบริหารแบนด์วิดท์จากผู้ให้บริการ (ISP) ผู้ใช้บริการต้องมีอุปกรณ์รองรับการทำ QoS และจัดสรรค์แบนด์วิดท์ในเครือข่ายภายในเอง
– ไม่ได้รับประกันเรื่องความเร็วในการใช้งาน เพราะเป็นบริการแชร์อินเทอร์เน็ต เว้นแต่จะซื้อบริการที่เป็น ADSL for Bussines (จะดีขึ้นมาหน่อยเรื่องความเร็ว แต่การ support ช้าเหมือนเดิม)
– ไม่สามารถแจ้งปัญหาตรงกับทาง NOC หรือทีมวิศวะกรเครือข่ายได้ ต้องผ่านแจ้งปัญหาการใช้งานผ่าน call center หรือสำนักงานย่อยของผู้ให้บริการเท่านั้น พอเป็นไปได้ก็ซื้อบริการจาก ISP รายย่อยแทน
– ความปลอดภัยในการใช้งาน อุปกรณ์ต้องรองรับการทำ VPN เป็นเครือข่ายส่วนตัวเชื่อมโยงระหว่างสาขา
– ไม่มีข้อตกลงการให้บริการจากผู้ให้บริการสำหรับบริการอินเทอร์เน็ตแบบ ADSL หรือที่เรียกว่า SLA (Service level agreement)
– เรื่องการป้องกันการโจมตี เช่น Denial of Service (DoS) ผู้ใช้บริการต้องป้องกันเอง หรือพวกปัญหาคอคอด (สำคัญมาก)
กลับเข้ามาเรื่องของบริการ ADSL IP VPN กับ ADSL MPLS IP VPN :-

– ทั้งสองซูโลชั่นนี้ให้ประเภทมีเดียเป็น ADSL ทั้ง IP VPN และ MPLS สิ่งที่ต้องเจอะคือปัญหาการเชื่อมต่อ ถ้า DSLAM เสียหายการเชื่อมต่อ ADSL ขณะนั้นตัดขาดทั้งที (กรณีนี้แนะนำให้ซื้อบริการจากผู้ให้บริการต่างกัน เพื่อทำเป็นวงจรสำรอง หรือ Backup Link)
– เรื่องของ QoS ความสำคัญของการให้บริการ support ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น MPLS จะมีการรับรองคุณภาพการใช้งาน (QoS) ด้วย carrier class ทำให้ผู้ใช้บริการเชื่อถือและไว้วางใจจากผู้ให้บริการ
– เน้นโน่มการโจมตี (Denial of service : DoS attack) ผู้ให้บริการ MPLS สามารถเฝ้าระวังภัยคุกคามประเภทการโจมตีต่างๆ ได้ จากฟีเจอร์ของอุปกรณ์และการคอนฟิก ทำให้ไม่ส่งผลต่อการเชื่อมเครือข่ายส่วนตัว (Private Network) ขององค์กร
– Backup Link รองรับการทำวงจรสำรองได้ทั้ง 2 บริการ (ADSL IP VPN และ ADSL MPLS IP VPN)
– MPLS IP VPN เป็นเครือข่ายส่วนตัว (Private Network) สำหรับองค์กรที่มีความปลอดภัย โดยให้บริการผ่านโครงข่ายหลัก (Core Network) ด้วยเทคโนโลยี MPLS
เลือกบริการเทคโนโลยีผ่านเครือข่าย WAN ที่ดีที่สุดสำหรับองค์กร

– MPLS อิมพลีเม้นท์โดยวิศวะกรเครือข่ายจากผู้ให้บริการโดยตรง (ISP)
– อย่างน้อยต้องมีลิงก์สำรอง (WAN backup lines) อาจเป็นบริการผ่านมีเดียอื่นๆ ด้วยเทคโนโลยี่ FTTx เช่น Fiber To The Home : FTTH

สรุป ถ้าให้คะแนนออกมาแล้วในซูโลชั่นพร้อมใช้งาน ที่มีการจัดการจาก ISP ก็คงต้องยกให้ ADSL MPLS IP VPN แต่ต้องแลกมาด้วยค่าใช้จ่าย ซึ่งก็ไม่ได้แพงมาก เมื่อเทียบกับมีเดียอื่นๆ หรืออีกทางเลือกสำหรับองค์กรขนาดเล็ก ที่ต้องการ save lost ค่าใช้จ่ายถูกกว่าแนะนำให้ใช้ ADSL IP VPN และต้องแลกมากับการคอนฟิก, บำรุงรักษาระบบเองครับ :-

จะว่าไปแล้วมันก็เหมือนกับคำนิยามของผู้ให้บริการระบบคลาวด์ “ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเราโดยทีมผู้เชี่ยวชาญ แล้วคุณเอาเวลาไปบริหารจัดการเครือข่ายภายในดีกว่าไหม“

TaggedADSLIPMPLSVPN

Android MasterKey Security Scanner เครื่องมือสแกนหาแอพพลิชั่นที่ไม่ปลอดภัยภายในเครื่อง

พบช่องโหว่แอพ Tumblr บน iPhone/iPad อนุญาตให้ผู้ไม่หวังดีดักจับข้อมูลได้

Leave a Reply Cancel reply

You must be logged in to post a comment.

Tag Cloud

3G Android Backup Blognone Chromecast Cloud Comparison CUPS Dell DNS Facebook Firefox Firewall Google Guitar Hacked HP Joomla LGP500 LibreOffice Linux Mozilla Firefox OpenOffice.org Open Source OpenStack openSUSE openSUSE11.3 openSUSE12.1 Peplink Performance Postfix Printer Samsung Security Storage SUSE SUSE Enterprise Desktop SUSE Enterprise Server SUSE Linux Enterprise Switch Thin client Tips VMware WordPress WordPress/SMF

Comments

  • Narupon Pattapat on การ cleaning the imaging unit หรือ Drum (Imaging Unit)
  • 76Rusty on แอพ aVia Media Player Pro และ Pocket Casts 4 อนาคตอาจรองรับ Chromecast
  • JindaTheme on CloudFlare คืออะไร?
  • viva3388 on CloudFlare คืออะไร?
  • SONTAYA on Linux Foundation T-Shirt มาแล้ว

Categories

  • Android (7)
  • Joomla (9)
  • LibreOffice/OpenOffice.org (16)
  • Linux (159)
  • Music (16)
  • News (55)
  • Office (55)
  • Online Marketing (3)
  • Personal (232)
  • VMware (5)
  • WordPress/SMF (20)

Archives

  • May 2019
  • March 2019
  • January 2019
  • December 2018
  • September 2018
  • August 2018
  • July 2018
  • April 2018
  • March 2018
  • January 2018
  • December 2017
  • June 2017
  • December 2016
  • November 2016
  • April 2016
  • March 2016
  • February 2016
  • September 2015
  • August 2015
  • July 2015
  • June 2015
  • May 2015
  • April 2015
  • February 2015
  • January 2015
  • November 2014
  • October 2014
  • September 2014
  • August 2014
  • July 2014
  • June 2014
  • May 2014
  • April 2014
  • March 2014
  • February 2014
  • December 2013
  • November 2013
  • October 2013
  • September 2013
  • August 2013
  • July 2013
  • June 2013
  • May 2013
  • April 2013
  • March 2013
  • February 2013
  • January 2013
  • December 2012
  • November 2012
  • October 2012
  • September 2012
  • August 2012
  • June 2012
  • May 2012
  • April 2012
  • March 2012
  • February 2012
  • December 2011
  • November 2011
  • October 2011
  • September 2011
  • August 2011
  • July 2011
  • June 2011
  • May 2011
  • April 2011
  • March 2011
  • February 2011
  • January 2011
  • December 2010
  • November 2010
  • October 2010
  • September 2010
  • August 2010
  • July 2010
  • June 2010
  • May 2010
  • April 2010
  • March 2010
  • February 2010
  • January 2010
  • December 2009

Archives

  • May 2019 (1)
  • March 2019 (1)
  • January 2019 (1)
  • December 2018 (1)
  • September 2018 (1)
  • August 2018 (3)
  • July 2018 (1)
  • April 2018 (1)
  • March 2018 (1)
  • January 2018 (2)
  • December 2017 (1)
  • June 2017 (3)
  • December 2016 (1)
  • November 2016 (1)
  • April 2016 (1)
  • March 2016 (2)
  • February 2016 (1)
  • September 2015 (3)
  • August 2015 (2)
  • July 2015 (7)
  • June 2015 (5)
  • May 2015 (1)
  • April 2015 (1)
  • February 2015 (2)
  • January 2015 (1)
  • November 2014 (3)
  • October 2014 (2)
  • September 2014 (2)
  • August 2014 (1)
  • July 2014 (3)
  • June 2014 (3)
  • May 2014 (2)
  • April 2014 (5)
  • March 2014 (2)
  • February 2014 (5)
  • December 2013 (3)
  • November 2013 (15)
  • October 2013 (15)
  • September 2013 (11)
  • August 2013 (9)
  • July 2013 (26)
  • June 2013 (7)
  • May 2013 (15)
  • April 2013 (6)
  • March 2013 (5)
  • February 2013 (4)
  • January 2013 (2)
  • December 2012 (9)
  • November 2012 (2)
  • October 2012 (4)
  • September 2012 (2)
  • August 2012 (4)
  • June 2012 (3)
  • May 2012 (4)
  • April 2012 (6)
  • March 2012 (14)
  • February 2012 (9)
  • December 2011 (8)
  • November 2011 (6)
  • October 2011 (13)
  • September 2011 (7)
  • August 2011 (10)
  • July 2011 (4)
  • June 2011 (12)
  • May 2011 (26)
  • April 2011 (6)
  • March 2011 (3)
  • February 2011 (4)
  • January 2011 (10)
  • December 2010 (6)
  • November 2010 (4)
  • October 2010 (5)
  • September 2010 (10)
  • August 2010 (5)
  • July 2010 (8)
  • June 2010 (6)
  • May 2010 (4)
  • April 2010 (9)
  • March 2010 (10)
  • February 2010 (8)
  • January 2010 (21)
  • December 2009 (28)
Proudly powered by WordPress | Theme: Showme by NEThemes.