SONTAYA'P BLOGGER

IT Digital lifestyle

รีวิวหนังสือ Think Like Zuck คิดแบบอัจฉริยะ มาร์ก ซักเกอร์เบิร์ (วัฒธรรมและวิถีของแฮกเกอร์)

bySONTAYA November 9, 2013 Personal

ชื่อหนังสือ : คิดแบบอัจฉริยะ มาร์ก ซักเกอร์เบิร์ก Think Like Zuck
ผู้เขียน : เอคาเทรีนา วอลเตอร์
ผู้แปล : ดร. พิมพ์ใจ สุรินทรเสรี

Think like Mark Zuckerberg
Think like Mark Zuckerberg

ขอสรุปเนื้อหาโดยย่อตามสไสต์ส่วนตัวไว้ดังนี้

ผู้เขียน (เอคาเทรีนา วอลเตอร์) ได้พูดถึงบุคคลที่ประสบความสำเร็จรวบรวมเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งอ่านไปอ่านมาก็ดูเหมือนว่านี่มัน Think Like Zuck หรือว่าอะไรกันแน่ แต่สุดท้ายผู้เขียนก็จะพาเข้าฝั่งจนได้ ซึ่งผู้เขียนเขาจะบอกว่าวิสัยทัศน์ของบุคคลที่ประสบความสำเร็จ จะมีความคิดคล้ายกับมาร์ก เล่มเดียวที่พูดถึงทั้งสตีฟ จ๊อปส์ และบิล เกตส์ และเจฟฟ์ เบซอส แห่งแอมะซอน หนังสือเล่มนี้แบ่งออกเป็น 5 บทดังนี้

บทที่ 1 – ความหลงใหล

จะพูดถึงความหลงโหลของมาร์ก ซักเกอร์เบิร์กในการสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ และประโยคเด็ดที่ว่า

  • คุณจะไล่ตามความฝันของตัวเองในตอนนี้ หรือไล่ตามอาชีพที่จะช่วยให้ตัวเองมั่นคงทางการเงินก่อน
  • เมื่อปราศจากความหลงใหล ก็ไร้พลัง เมื่อไร้พลังก็ไร้ซึ่งทุกสิ่ง

บทที่ 2 – วัตถุประสงค์

ในบทนี้ผู้อ่านจะได้พบประโยชน์เด็ดๆ อีก เช่น วัตถุประสงค์จำเป็นต่อความสำเร็จของทุกความเพียรพยายาม และพูดถึงผลิตภัณฑ์หรือบริการ ว่าคุณภาพถูกเปรียบเทียบได้ แรงจูงใจถูกเสนอได้ และตัดราคาได้เพื่อให้แข่งขันได้ แต่สิ่งที่สร้างความภักดีของลูกค้าในระยะยาวได้จริงๆ ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์หรือการลดราคา แต่เป็นความเชื่ออันแท้จริงของลูกค้า (เช่นเดียวกับที่คุณใช้สินค้า Apple TV ของแอปเปิล หรือ Chromecast ของกูเกิล – ผู้รีวิว) บริษัทแอปเปิลไม่ได้ทำการตลาดที่ตัวผลิตภัณฑ์แต่ทำการตลาดกับเหตุผลที่ว่า ทำไมคนจึงต้องการผลิตภัณฑ์ตัวนั้น (นี่แหละคิดแบบอัจฉริยะของจ๊อปส์ – ผู้รีวิว)

ในบทที่ 2 นี้ผู้อ่านจะได้อ่านแนวคิดของมาร์กในหนังสือเสนอขายหุ้น IPO มีประโยชน์หนึ่งที่ว่า “เราไม่สร้างบริการเพื่อทำงาน แต่ทำเงินเพื่อสร้างบริการให้ดีขึ้น” (รายได้หลักของเฟซบุ๊กมาจากการขายโฆษณา หากคิดสร้างบริการเพื่อทำเงินพื้นที่โฆษณาคงเติมหน้าเว็บเพจแล้ว – ผู้รีวิว) ท้ายบทผู้เขียนพูดถึงวิสัยทัศน์และค่านิยม 5 ประการของบริษัทเฟซบุ๊ก

1. เน้นที่ผลกระทบ
มุ่งเน้นแก้ปัญหาสำคัญทีสุดเสมอ

2. เคลื่อนตัวรวดเร็ว
เคลือตัวรวดเร็วทำให้สร้างสิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น

3. กล้าหาญ
สิ่งที่เสี่ยงที่สุดคือการไม่เสี่ยงอะไรเลย

4. เปิดกว้าง
ทุกคนที่เฟซบุ๊กจะเข้าถึงข้อมูลทุกส่วนของบริษัทได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

5. สร้างคุณค่าทางสังคม
เฟซบุ๊กอยู่เพื่อให้โลกเปิดกว้างและสร้างการเชื่อมต่อกันมากขึ้น

บทที่ 3 – คน

บทนี้เอคาเทรีนาจะพูดถึงเรื่องของทีม, วัฒนธรรม และความโปร่งใส่ และโยงเนื้อหาเข้ากับ “แซปโปส์” บริษัทขายรองเท้าออนไลน์ที่ประสบความสำเร็จสูงสุด (ค่านิยม 37 ประกาศของแซปโปส์อ่านได้ในหนังสือ “ใช้ความสุขทำกำไร” ไว้จะมารีวิวให้อ่านเป็นเล่มต่อไปครับ – ผู้รีวิว) เฟซบุ๊กไม่มีแผนที่วัฒนธรรมที่มองเห็นได้ แต่วัฒนธรรมของเฟซบุ๊กคือ วัฒนธรรมของแฮกเกอร์ (เอาล่ะสิมันเกี่ยวอะไรกับการเจาะระบบ – ผู้รีวิว) บทนี้ผู้อ่านจะได้ตอบคำถามตัวอย่างของฝ่ายบุคคลแห่งแซปโปส์ เช่น คุณคิดว่าตัวเองโชดดีแค่ไหนหากใช้คะแนนจาก 1 ถึง 10 และประโยคของมาร์คที่ว่า “จงเสนอเส้นทางอาชีพที่แปลกใหม่ให้พนักงานตามผลงาน และพฤติกรรม ไม่ใช่ตามหนังสือรับรองคุณสมบัติ (ใบ cert นั้นแหละครับ – ผู้รีวิว) และเนื้อหาท้ายบทจะพูดถึงความเป็นผู้นำ และการรับพนักงานเข้าทำงานในเฟซบุ๊ก “การไว้ใจพนักงานเป็นแจงจูงใจสูงสุดอย่างหนึ่ง – มาร์ก ซักเกอร์เบิร์ก”

บทที่ 4 – ผลิตภัณฑ์

วิสัยทัศน์ที่ว่า “ใครๆ ก็พัฒนาต่อยอดได้ฟรี จะทำอะไรก็ได้ตามต้องการ ไม่ว่าจะสร้างลิงก์ไปเว็บไซต์อื่นก็ได้ เราเป็นพวกที่ไม่เชื่อว่า โลกนี้มีคำตอบตายตัวเสมอไป ต่อจากนี้จะมีบริษัทมากมายที่มีสินค้าเพียงอย่างเดียวคือ แอพบนเฟซบุ๊กเท่านั้น” เฟซบุ๊กส่งโค้ดชุดใหม่ออกทุกสัปดาห์ และนักพัฒนาต้องส่งงานทุกวันอาทิตย์ โดยโค้ดใหม่จะออกใช้สดๆ ทุกวันอังคาร (ตามคำขัวญที่ว่า “เคลื่อนตัวให้เร็ว และทำข้าวของพัง” – ผู้รีวิว)

สโลแกนยอดนิยมในวัฒธรรมของเฟซบุ๊กกับวิถีของแฮกเกอร์

  • ทำเสร็จ ดีกว่าทำให้สมบรูณ์แบบแต่ไม่เสร็จสักที
  • เลื่อนตัวให้เร็ว และทำข้าวของพัง
  • มุ่งมั่น และอย่าหยุดมอบสินค้าและบริการให้ลูกค้า
  • เราเพิ่งเดินทางไปได้แค่ 1% เท่านั้น

บทที่ 5 – ความเป็นหุ้นส่วน

มาร์กเลือกคนที่มีทักษะที่โดดเด่นซึ่งฝ่ายหนึ่งมีแต่อีกฝ่ายไม่มี จนได้แซนด์เบิร์กมาบริหารจัดการบริษัทเฟซบุ๊กประสบความสำเร็จ (นิตยสาร Fortune จัดอันดับให้แซนด์เบิร์กอยู่ในลำดับที่ 8 ของ 50 นักธุรกิจสตรีที่ทรงอิทธิพล) และอธิบายถึงหลักแบบจำลอง 7 ประการณ์ความเป็นหุ้นส่วนที่ประสบความสำเร็จ

สรุป (ผู้รีวิว) เป็นหนังสือที่บอกเล่าวิสัยทัศน์ของผู้สุดยอดซีอีโอที่คิดแบบอัจฉริยะแห่งเฟซบุ๊ก จากสโลแกนยอดนิยมในวัฒธรรมของเฟซบุ๊กกับวิถีของแฮกเกอร์ ได้แก่ สโลแกนยอดนิยมในวัฒธรรมของเฟซบุ๊กกับวิถีของแฮกเกอร์ คือ

  • ทำเสร็จ ดีกว่าทำให้สมบรูณ์แบบแต่ไม่เสร็จสักที
  • เคลื่อนตัวให้เร็ว และทำข้าวของพัง
  • มุ่งมั่น และอย่าหยุดมอบสินค้าและบริการให้ลูกค้า
  • เราเพิ่งเดินทางไปได้แค่ 1% เท่านั้น

(หาซื้ออ่านกันได้ตามร้านหนังสือชั่นนำทั่วไป) สงวนลิขสิทธ์ โดย บริษัท เนชั่น อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนท์ จำกัด

TaggedFacebook

Mikrotik เราท์เตอร์เทพ ปล่อยซอฟต์แวร์เวอร์ชั่น RouterOS v6.6 แล้ว

เปรียบเทียบด้านเทคโนโลยีระหว่าง Chromecast กับ Android TV Box

Leave a Reply Cancel reply

You must be logged in to post a comment.

Tag Cloud

3G Android Backup Blognone Chromecast Cloud Comparison CUPS Dell DNS Facebook Firefox Firewall Google Guitar Hacked HP Joomla LGP500 LibreOffice Linux Mozilla Firefox OpenOffice.org Open Source OpenStack openSUSE openSUSE11.3 openSUSE12.1 Peplink Performance Postfix Printer Samsung Security Storage SUSE SUSE Enterprise Desktop SUSE Enterprise Server SUSE Linux Enterprise Switch Thin client Tips VMware WordPress WordPress/SMF

Comments

  • Narupon Pattapat on การ cleaning the imaging unit หรือ Drum (Imaging Unit)
  • 76Rusty on แอพ aVia Media Player Pro และ Pocket Casts 4 อนาคตอาจรองรับ Chromecast
  • JindaTheme on CloudFlare คืออะไร?
  • viva3388 on CloudFlare คืออะไร?
  • SONTAYA on Linux Foundation T-Shirt มาแล้ว

Categories

  • Android (7)
  • Joomla (9)
  • LibreOffice/OpenOffice.org (16)
  • Linux (159)
  • Music (16)
  • News (55)
  • Office (55)
  • Online Marketing (3)
  • Personal (232)
  • VMware (5)
  • WordPress/SMF (20)

Archives

  • May 2019
  • March 2019
  • January 2019
  • December 2018
  • September 2018
  • August 2018
  • July 2018
  • April 2018
  • March 2018
  • January 2018
  • December 2017
  • June 2017
  • December 2016
  • November 2016
  • April 2016
  • March 2016
  • February 2016
  • September 2015
  • August 2015
  • July 2015
  • June 2015
  • May 2015
  • April 2015
  • February 2015
  • January 2015
  • November 2014
  • October 2014
  • September 2014
  • August 2014
  • July 2014
  • June 2014
  • May 2014
  • April 2014
  • March 2014
  • February 2014
  • December 2013
  • November 2013
  • October 2013
  • September 2013
  • August 2013
  • July 2013
  • June 2013
  • May 2013
  • April 2013
  • March 2013
  • February 2013
  • January 2013
  • December 2012
  • November 2012
  • October 2012
  • September 2012
  • August 2012
  • June 2012
  • May 2012
  • April 2012
  • March 2012
  • February 2012
  • December 2011
  • November 2011
  • October 2011
  • September 2011
  • August 2011
  • July 2011
  • June 2011
  • May 2011
  • April 2011
  • March 2011
  • February 2011
  • January 2011
  • December 2010
  • November 2010
  • October 2010
  • September 2010
  • August 2010
  • July 2010
  • June 2010
  • May 2010
  • April 2010
  • March 2010
  • February 2010
  • January 2010
  • December 2009

Archives

  • May 2019 (1)
  • March 2019 (1)
  • January 2019 (1)
  • December 2018 (1)
  • September 2018 (1)
  • August 2018 (3)
  • July 2018 (1)
  • April 2018 (1)
  • March 2018 (1)
  • January 2018 (2)
  • December 2017 (1)
  • June 2017 (3)
  • December 2016 (1)
  • November 2016 (1)
  • April 2016 (1)
  • March 2016 (2)
  • February 2016 (1)
  • September 2015 (3)
  • August 2015 (2)
  • July 2015 (7)
  • June 2015 (5)
  • May 2015 (1)
  • April 2015 (1)
  • February 2015 (2)
  • January 2015 (1)
  • November 2014 (3)
  • October 2014 (2)
  • September 2014 (2)
  • August 2014 (1)
  • July 2014 (3)
  • June 2014 (3)
  • May 2014 (2)
  • April 2014 (5)
  • March 2014 (2)
  • February 2014 (5)
  • December 2013 (3)
  • November 2013 (15)
  • October 2013 (15)
  • September 2013 (11)
  • August 2013 (9)
  • July 2013 (26)
  • June 2013 (7)
  • May 2013 (15)
  • April 2013 (6)
  • March 2013 (5)
  • February 2013 (4)
  • January 2013 (2)
  • December 2012 (9)
  • November 2012 (2)
  • October 2012 (4)
  • September 2012 (2)
  • August 2012 (4)
  • June 2012 (3)
  • May 2012 (4)
  • April 2012 (6)
  • March 2012 (14)
  • February 2012 (9)
  • December 2011 (8)
  • November 2011 (6)
  • October 2011 (13)
  • September 2011 (7)
  • August 2011 (10)
  • July 2011 (4)
  • June 2011 (12)
  • May 2011 (26)
  • April 2011 (6)
  • March 2011 (3)
  • February 2011 (4)
  • January 2011 (10)
  • December 2010 (6)
  • November 2010 (4)
  • October 2010 (5)
  • September 2010 (10)
  • August 2010 (5)
  • July 2010 (8)
  • June 2010 (6)
  • May 2010 (4)
  • April 2010 (9)
  • March 2010 (10)
  • February 2010 (8)
  • January 2010 (21)
  • December 2009 (28)
Proudly powered by WordPress | Theme: Showme by NEThemes.