SONTAYA'P BLOGGER

IT Digital lifestyle

XenServer 6.2.0 ออกแล้ว พร้อมแพลตฟอร์มเปิด Open Source virtualization

bySONTAYA June 27, 2013 News Personal

XenServer เวอร์ชั่นล่าสุดได้เปลี่ยนสถานะมาเป็นโอเพนซอร์สอย่างเต็มที่แล้ว ลิขสิทธิแบบ GNU GPL v2 open source license แต่อาจจะต้องซื้อ technical support จาก Citrix support license

XenServer 6.2.0 (Release Date: Jun 26, 2013)

รู้จักกับ Citrix เจ้าของผลิตภัณฑ์ XenServer

รู้จัก Citrix

Citrix ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1989 โดยอดีตพนักงานของไอบีเอ็ม ชื่อบริษัทมาจากคำว่า Citrus (พืชตระกูลส้ม) + Unix เดิมทีเน้นตลาด remote access สำหรับองค์กรเป็นหลัก

ปัจจุบัน Citrix มีพนักงาน 7,000 คนทั่วโลก รายได้ต่อปีคือ 2.2 พันล้านดอลลาร์ (ตัวเลขปี 2011) ส่วนธุรกิจมีหลากหลาย ในภาพรวมเน้นตลาดไอทีองค์กร บริษัทเรียกตัวเองว่าขาย complete end-to-end virtualization ลูกค้าสำคัญคือบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลกทั้งหลาย กลุ่มบริษัทที่ติดชาร์ท Fortune 500 ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Citrix กันถ้วนหน้า

ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทคือ virtualization ที่มีความหมายครอบคลุมมากกว่า OS virtualization โดยผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ใช้ชื่อนำหน้าว่า Xen (อ่านว่า “เซ็น”)

XenApp (ชื่อเดิมที่คุ้นหูกัน Citrix MetaFrame XP) คือระบบ virtual application หรือการรันแอพพลิเคชันขององค์กร (เน้น Win32) จากเซิร์ฟเวอร์กลางของบริษัท เช่น โปรแกรม ERP แทนที่จะรันจากเครื่องของพนักงาน จากนั้นเครื่องพนักงาน หรือเครื่องไคลเอ็นท์ที่อยู่สาขาก็ให้รีโมทผ่านโปรแกรม ICA หรือ Remote Desktop Client (RDP) มายังเครื่องแอพพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ อันนี้คือสินค้าหลักของบริษัทตั้งแต่ต้น และยังเป็นสินค้าหลักในปัจจุบัน

XenDesktop คือระบบ virtual desktop infrastructure (VDI) ที่กำลังนิยมในช่วงหลัง มันคือการรันเดสก์ท็อปทั้งอันจากเซิร์ฟเวอร์เลย เช่น Windows XP, Windows 7 (พีซี หรือพวกเครื่องธิงค์ไคลเอ็นท์ เป็นแค่เทอร์มินัล รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด-แสดงออกจอ พนักงานอยากรันใช้ Windows XP ก็เชื่อมต่อไปได้เลย หรือ Windows 7) ซึ่งตัวเซิร์ฟเวอร์ก็จะรับ XenServer โดยการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (cloud computing)

XenServer คือระบบ OS/platform virtualization แบบเดียวกับพวก Hyper-V หรือ VMware ถ้าใครเคยเล่น Xen บนระบบปฏิบัติการลินุกซ์ ของบริษัท XenSource มันคือตัวเดียวกัน (Citrix ซื้อ XenSource เมื่อปี 2007) มีเวอร์ชันโอเพนซอร์สด้วย

[June 25, 2013] ล่าสุดตามข่าวเวอร์ชั่น XenServer 6.2.0 เปิดเป็น full open-sourced virtualized infrastructure ลิขสิทธิแบบ GNU GPL v2 open source license

New and Improved Guest Support

• Microsoft Windows 8 (Full support)

• Microsoft Windows Server 2012

• SUSE Linux Enterprise Server (SLES) 11 SP2 (32/64-bit)

• Red Hat Enterprise Linux (RHEL) (32/64-bit) 5.8, 5.9, 6.3, 6.4

• Oracle Enterprise Linux (OEL) (32/64-bit) 5.8, 5.9, 6.3, 6.4

• CentOS (32 / 64-bit) 5.8, 5.9, 6.3, 6.4

• Debian Wheezy (32/ 64-bit)

• VSS support for Windows Server 2008R2 has been improved and reintroduce

ผลิตภัณฑ์อย่างอื่นของบริษัท ที่เด่นๆ และน่าสนใจ ได้แก่ NetScaler ซอฟต์แวร์ด้านเครือข่ายที่ช่วยรีดประสิทธิภาพของการส่งข้อมูลแบบ HTTP เอาไว้ใช้คู่กับพวกเว็บแอพให้ทำงานเร็วขึ้น

CloudStack ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างกลุ่มเมฆ ได้มาจากการซื้อ Cloud.com ในปี 2011 ปัจจุบันเปิดเป็นโอเพนซอร์สภายใต้โครงการ Apache และเป็นคู่แข่งกับ OpenStack

ผลิตภัณฑ์กลุ่ม GoTo สำหรับการประชุม สัมมนา เทรนนิ่ง ซ่อมคอม ฯลฯ จากระยะไกล มีด้วยกันหลายตัว เช่น GoToMeeting, GoToMyPC, GoToTraining ซึ่งทาง Citrix บอกว่าตัว GoToMeeting มีส่วนแบ่งเป็นอันดับสองของซอฟต์แวร์ประชุมทางไกล เป็นรองแค่ Cisco WebEx เท่านั้น

ดังนั้นระบบ VPS ส่วนมากผู้ให้บริการนิยมใช้ Citrix Xenserver ที่มีคุณภาพอย่างมาก เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานคุณภาพของระบบ Main VPS Server ของเรา เราจึงมั่นใจได้ว่า Xenserver ดีที่สุดในระบบ VPS


ระหว่าง XenServer กับ VMware

VMWare

Memory เป็นแบบ Reservation สามารถสร้าง Guest ได้ไม่เกิน Memory ที่มีอยู่ (มี 8GB สามารถสร้าง Guest Mem 2GB ได้แค่ 4 เครื่อง)

ข้อดี

– ใช้งานง่ายกว่า Manage ง่ายกว่า
– โดยมากแล้วคนจะนิยมเลือกใช้ VMWare มากกว่า XenServer มี community มากมาย เวลาเกิดปัญหาก็สามารถถามปัญหาได้สะดวกกว่า อาจจะไม่ต้องพึ่ง support

ข้อเสีย

– แพงกว่า

XenServer

Memory เป็นแบบ Reservation สามารถสร้าง Guest ได้ไม่เกิน Memory ที่มีอยู่ (มี 8GB สามารถสร้าง Guest Mem 2GB ได้แค่ 4 เครื่อง)

ข้อดี

– Version ฟรี นั้นมีฟังก์ัชั่นเกือบ ๆ เท่า VMWare เวอร์ชั่น advance
– บางคนชอบแก้นั้นแก้นี้ มองว่ามันไม่เป็นปัญหาก็ใช้ แต่ก็ถ้าเจอปัญหาก็อาจจะแก้ไขได้ช้าเพราะว่าแหล่ง community มีน้อย

ข้อเสีย

– Manage ค่อยข้างยาก
– และอาจจะต้องซื้อ technical support จาก Citrix support license

ที่มา
//blogs.citrix.com/2013/06/25/xenserver-6-2-is-now-fully-open-source
//www.cmshostthailand.com/support/knowledgebase.php?action=displayarticle&id=753
//www.serverwatch.com/server-news/citrix-takes-xenserver-open-source.html
//www.vmware.in.th/forum/index.php?topic=688.0
//www.xenserver.org/

TaggedCitrixXenServer

HP 1810-48G switch และโมดูล Mini-GBIC/SFP

เร่งประสิทธิภาพโค้ด PHP ให้กับ SMF ด้วยแคช APC accelerators (Alterative PHP Cache)

Leave a Reply Cancel reply

You must be logged in to post a comment.

Tag Cloud

3G Android Backup Blognone Chromecast Cloud Comparison CUPS Dell DNS Facebook Firefox Firewall Google Guitar Hacked HP Joomla LGP500 LibreOffice Linux Mozilla Firefox OpenOffice.org Open Source OpenStack openSUSE openSUSE11.3 openSUSE12.1 Peplink Performance Postfix Printer Samsung Security Storage SUSE SUSE Enterprise Desktop SUSE Enterprise Server SUSE Linux Enterprise Switch Thin client Tips VMware WordPress WordPress/SMF

Comments

  • Narupon Pattapat on การ cleaning the imaging unit หรือ Drum (Imaging Unit)
  • 76Rusty on แอพ aVia Media Player Pro และ Pocket Casts 4 อนาคตอาจรองรับ Chromecast
  • JindaTheme on CloudFlare คืออะไร?
  • viva3388 on CloudFlare คืออะไร?
  • SONTAYA on Linux Foundation T-Shirt มาแล้ว

Categories

  • Android (7)
  • Joomla (9)
  • LibreOffice/OpenOffice.org (16)
  • Linux (159)
  • Music (16)
  • News (55)
  • Office (55)
  • Online Marketing (3)
  • Personal (232)
  • VMware (5)
  • WordPress/SMF (20)

Archives

  • May 2019
  • March 2019
  • January 2019
  • December 2018
  • September 2018
  • August 2018
  • July 2018
  • April 2018
  • March 2018
  • January 2018
  • December 2017
  • June 2017
  • December 2016
  • November 2016
  • April 2016
  • March 2016
  • February 2016
  • September 2015
  • August 2015
  • July 2015
  • June 2015
  • May 2015
  • April 2015
  • February 2015
  • January 2015
  • November 2014
  • October 2014
  • September 2014
  • August 2014
  • July 2014
  • June 2014
  • May 2014
  • April 2014
  • March 2014
  • February 2014
  • December 2013
  • November 2013
  • October 2013
  • September 2013
  • August 2013
  • July 2013
  • June 2013
  • May 2013
  • April 2013
  • March 2013
  • February 2013
  • January 2013
  • December 2012
  • November 2012
  • October 2012
  • September 2012
  • August 2012
  • June 2012
  • May 2012
  • April 2012
  • March 2012
  • February 2012
  • December 2011
  • November 2011
  • October 2011
  • September 2011
  • August 2011
  • July 2011
  • June 2011
  • May 2011
  • April 2011
  • March 2011
  • February 2011
  • January 2011
  • December 2010
  • November 2010
  • October 2010
  • September 2010
  • August 2010
  • July 2010
  • June 2010
  • May 2010
  • April 2010
  • March 2010
  • February 2010
  • January 2010
  • December 2009

Archives

  • May 2019 (1)
  • March 2019 (1)
  • January 2019 (1)
  • December 2018 (1)
  • September 2018 (1)
  • August 2018 (3)
  • July 2018 (1)
  • April 2018 (1)
  • March 2018 (1)
  • January 2018 (2)
  • December 2017 (1)
  • June 2017 (3)
  • December 2016 (1)
  • November 2016 (1)
  • April 2016 (1)
  • March 2016 (2)
  • February 2016 (1)
  • September 2015 (3)
  • August 2015 (2)
  • July 2015 (7)
  • June 2015 (5)
  • May 2015 (1)
  • April 2015 (1)
  • February 2015 (2)
  • January 2015 (1)
  • November 2014 (3)
  • October 2014 (2)
  • September 2014 (2)
  • August 2014 (1)
  • July 2014 (3)
  • June 2014 (3)
  • May 2014 (2)
  • April 2014 (5)
  • March 2014 (2)
  • February 2014 (5)
  • December 2013 (3)
  • November 2013 (15)
  • October 2013 (15)
  • September 2013 (11)
  • August 2013 (9)
  • July 2013 (26)
  • June 2013 (7)
  • May 2013 (15)
  • April 2013 (6)
  • March 2013 (5)
  • February 2013 (4)
  • January 2013 (2)
  • December 2012 (9)
  • November 2012 (2)
  • October 2012 (4)
  • September 2012 (2)
  • August 2012 (4)
  • June 2012 (3)
  • May 2012 (4)
  • April 2012 (6)
  • March 2012 (14)
  • February 2012 (9)
  • December 2011 (8)
  • November 2011 (6)
  • October 2011 (13)
  • September 2011 (7)
  • August 2011 (10)
  • July 2011 (4)
  • June 2011 (12)
  • May 2011 (26)
  • April 2011 (6)
  • March 2011 (3)
  • February 2011 (4)
  • January 2011 (10)
  • December 2010 (6)
  • November 2010 (4)
  • October 2010 (5)
  • September 2010 (10)
  • August 2010 (5)
  • July 2010 (8)
  • June 2010 (6)
  • May 2010 (4)
  • April 2010 (9)
  • March 2010 (10)
  • February 2010 (8)
  • January 2010 (21)
  • December 2009 (28)
Proudly powered by WordPress | Theme: Showme by NEThemes.